6. มารยาท ระเบียบ และข้อบังคับในการใช้อินเทอร์เน็ต จากปัญหาการล่อลวงอินเกิดจากการเล่นอินเทอร์เน็ตที่นับวันจะยิ่งมีมากขึ้น ทำให้หน่วยงานที่รับผิดชอบได้พยายามหามาตรการป้องกันปัญหาและภัยจากการใช้อินเทอร์เน็ต ซึ่งเกิดจากคนที่ขาดจิตสำนึกที่ดีต่อสังคม ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของทุกคนที่จะสร้างจิตสำนึกที่ดีต่อทั้งตนเอง และสังคม เพื่อหลีกเลี่ยงและรับมือกับความเสี่ยงจากภัยออนไลน์ ทั้งนี้รองศาสตราจารย์ยืน ภู่วรวรรณ ได้กล่าวถึง บัญญัติ 10 ประการ ซึ่งเป็นจรรยาบรรณที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตควรยึดถือไว้เสมือนเป็นแม่บทของการปฏิบัติ ซึ่งผู้ใช้พึงระลึกและเตือนความจำเสมอ ดังนี้ อ่านต่อ
โค้ดตัวอักษรวิ่ง
วันพฤหัสบดีที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2557
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
ได้กล่าวถึงบัญญัติสิบประการของการใช้คอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
การใช้บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
1. เวิลด์ไวด์เว็บ (WWW) เวิลด์ไวด์เว็บ หรือเครือข่ายใยแมงมุม เหตุที่เรียกชื่อนี้เพราะว่าเป็นลักษณะของการเชื่อมโยงข้อมูล จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งเรื่อยๆ เวิลด์ไวด์เว็บ เป็นบริการที่ได้รับความนิยมมากที่สุด ในการเรียกดูเว็บไซต์ต้องอาศัยโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ อ่านต่อ
วันพฤหัสบดีที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2557
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยี (Technological Process) คือ ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือตอบสนองต่อความต้องการ ซึ่งจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากทรัพยากรให้เป็นผลผลิตหรือผลลัพธ์ ระบบเทคโนโลยีประกอบด้วยกระบวนทางเทคโนโลยีทั้งหมด 7 ขั้นตอน ได้แก่ อ่านต่อ
ขั้นตอนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
1. การนิยามปัญหา (Problem Definition)
ในขั้นแรกของการแก้ปัญหา สิ่งสำคัญที่สุด คือเราต้องทำความเข้าใจให้ได้ว่าปัญหาคืออะไร ประเด็นหลักอยู่ที่ใด และต้องการให้ได้ผลลัพธ์อะไร
2. การวิเคราะห์ปัญหา (Problem analysis)
หลังจากที่เข้าใจปัญหาได้ดีแล้ว ขั้นต่อไป คือ อ่านต่อ
ในขั้นแรกของการแก้ปัญหา สิ่งสำคัญที่สุด คือเราต้องทำความเข้าใจให้ได้ว่าปัญหาคืออะไร ประเด็นหลักอยู่ที่ใด และต้องการให้ได้ผลลัพธ์อะไร
2. การวิเคราะห์ปัญหา (Problem analysis)
หลังจากที่เข้าใจปัญหาได้ดีแล้ว ขั้นต่อไป คือ อ่านต่อ
การใช้คอมพิวเตอร์แก้ปัญหา
ในชีวิตประจำวันทุกคนต้องเคยพบกับปัญหาต่างๆ
ไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้านการเรียน การงาน การเงิน หรือแม้แต่การเล่นเกม
เมื่อพบกับปัญหา แต่ละคนมีวิธีที่จะจัดการหรือแก้ปัญหาเหล่านั้นแตกต่างกันไป ซึ่งแต่ละวิธีการอาจให้ผลลัพธ์ที่เหมือนหรือแตกต่างกันเล็กน้อย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความรู้ ความสามารถ
และประสบการณ์ของบุคคลผู้นั้น อ่านต่อ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยี (Technological Process) คือ ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือตอบสนองต่อความต้องการ
ซึ่งจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากทรัพยากรให้เป็นผลผลิตหรือผลลัพธ์
ระบบเทคโนโลยีประกอบด้วยกระบวนทางเทคโนโลยีทั้งหมด 7 ขั้นตอน
ได้แก่ อ่านต่อ
การเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
การเชื่อมเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ตที่นิยมใช้สำหรับผู้ใช้งานทั่วไปหรือหน่วยงานขนาดเล็กจะใช้การเชื่อมต่อแบบหมุนโทรศัพท์ (Dial-Up Connection) ซึ่งเป็นการเชื่อมต่อแบบชั่วคราวหรือเฉพาะบางเวลา ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ผ่านสายโทรศัพท์ ซึ่งสิ่งที่จำเป็นในการเชื่อมต่อ มีดังนี้ อ่านต่อ
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
ความรู้พื้นฐานของการใช้งาน อินเตอร์เน็ต (Internet)นั้น ประกอบด้วยการใช้งานด้านการค้นหา ข้อมูลและสื่อสารข้อมูล เป็นหลัก ในที่นี้ จะกล่าวถึงการใช้งาน Browser ในการค้นหาข้อมูลและสื่อสาร ข้อมูล โดยการค้นหาข้อมูล จะกล่าวถึงการใช้งาน Search Engine และการสื่อสารข้อมูลจะเป็นลักษณะของ การสื่อสารข้อมูลด้วย E-Mail อ่านต่อ
ความหมายและพัฒนาการของการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ
วิธีการส่งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ หรือรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ และเมื่อถึงปลายทางหรือผู้รับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณนั้น กลับมาให้อยู่ในรูปที่มนุษย์ สามารถที่จะเข้าใจได้ อ่านต่อ
วิธีการส่งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ หรือรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ และเมื่อถึงปลายทางหรือผู้รับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณนั้น กลับมาให้อยู่ในรูปที่มนุษย์ สามารถที่จะเข้าใจได้ อ่านต่อ
วันศุกร์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2557
วันพฤหัสบดีที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2557
ไดออารี่ในความทรงจำ
ตอนที่ผมเป็นเด็ก พ่อกับแม่พาผมและพี่น้องไปอยู่ที่บ้านยา และเติบโตที่บ้านยาแล้วผมก็เรียน
อยู่ที่ราชบุรี ผมก็ช่วยตายาทำงานที่โรงงาน ตากับยาทำอาชีพส่วนตัวคือทำโรงงานขายน้ำตาลสด
ที่บ้านยา มีพี่น้องอยู่ประมาณ 15 คน และผมก็เล่น กีฬาเทควันโด ตั้งแต่ป.4 ต่อนี้ผมอยู่ม.2ผมยัง
เรียนอยู่เพราะโดยบังครับจากแม่ น้า ป้า และน้องก็ไม่อย่ากเรียน
วันพฤหัสบดีที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
ไดออารี่ในความทรงจำ
ตอนที่ผมเป็นเด็ก พ่อกับแม่พาผมและพี่น้องไปอยู่ที่บ้านยา และเติบโตที่บ้านยาแล้วผมก็เรียน
อยู่ที่ราชบุรี ผมก็ช่วยตายาทำงานที่โรงงาน ตากับยาทำอาชีพส่วนตัวคือทำโรงงานขายน้ำตาลสด
ที่บ้านยา มีพี่น้องอยู่ประมาณ 15 คน และผมก็เล่น กีฬาเทควันโด ตั้งแต่ป.4 ต่อนี้ผมอยู่ม.2ผมยัง
เรียนอยู่เพราะโดนบังครับจากแม่ น้า ป้า น้องก็ไม่อย่ากเรียนเพราะขี้เกียด เมื่อวันที่3/8/57ผมได้ไปแข่งขัดตัว
ผมชนะกับผมก็เจ็บตัวมาและวันรุ้งขึ้มผมก็ไปเรียนหนังถึง 15.00 นและผมก็ต้องไปเรียนเทคควันโดต้องจนถึง
ทุงวันนี้อย่างไม่เลิกเรียนเทคควันโด
อยู่ที่ราชบุรี ผมก็ช่วยตายาทำงานที่โรงงาน ตากับยาทำอาชีพส่วนตัวคือทำโรงงานขายน้ำตาลสด
ที่บ้านยา มีพี่น้องอยู่ประมาณ 15 คน และผมก็เล่น กีฬาเทควันโด ตั้งแต่ป.4 ต่อนี้ผมอยู่ม.2ผมยัง
เรียนอยู่เพราะโดนบังครับจากแม่ น้า ป้า น้องก็ไม่อย่ากเรียนเพราะขี้เกียด เมื่อวันที่3/8/57ผมได้ไปแข่งขัดตัว
ผมชนะกับผมก็เจ็บตัวมาและวันรุ้งขึ้มผมก็ไปเรียนหนังถึง 15.00 นและผมก็ต้องไปเรียนเทคควันโดต้องจนถึง
ทุงวันนี้อย่างไม่เลิกเรียนเทคควันโด
วันศุกร์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2557
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ (software) หมาย ถึง ชุด คำ สั่ง หรือ โปรแกรม ที่ ใช้ สั่ง งาน ให้ คอมพิวเตอร์ ทำ งาน ซอฟต์แวร์จึง หมาย ถึง ลำ ดับตอน การ ทำ งาน ที่ เขียน ขึ้น ด้วย คำ สั่ง ของ คอมพิวเตอร์ คำ สั่ง เหล่า นี้ เรียง กัน เป็น โปรแกรม คอมพิวเตอร์ จาก ที่ ทราบ มา แล้ว ว่า คอมพิวเตอร์ ทำ งาน ตาม คำ สั่ง อ่านต่อ
ประเภทของซอฟต์แร์ ใน บรรดา ซอฟต์แวร์หรือ โปรแกรม คอมพิวเตอร์ ที่ มี ผู้ พัฒนา ขึ้น เพื่อ ใช้ งานกับคอมพิวเตอร์ มี มาก มาย ซอฟต์แวร์เหล่า นี้ อาจ ได้ รับ การ พัฒนา โดย ผู้ ใช้ งาน เอง หรือ ผู้ พัฒนา ระบบ หรือ ผู้ ผลิต จำหน่าย หาก แบ่ง แยก ชนิด ของ ซอฟต์แวร์ตาม สภาพ การ ทำ งาน พอ แบ่ง แยก ซอฟต์แวร์ได้ เป็น สอง ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software) อ่านต่อ
ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการจัดการระบบคอมพิวเตอร์จัดการอุปกรณ์รับเข้าและส่งออก การรับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระการแสดงผลบนจอภาพการนำข้อมูลออกไปพิมพ์ยังเครื่องพิมพ์การจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้มการเรียกค้นข้อมูลการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการประสานงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ซอฟต์แวร์ระบบจึงหมายถึงซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ให้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดีคือระบบปฏิบัติการ(operating System) เช่น เอ็มเอสดอส ยูนิกซ์ โอเอสทู เป็นต้น อ่านต่อ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ปัจจุบันมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่าง ๆ ออกจำหน่ายมาก การประยุกต์งานคอมพิวเตอร์จึงกว้างขวางและแพร่หลาย เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่มคือ ซอฟต์แวร์สำเร็จ และซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์สำเร็จในปัจจุบันมีมากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ฯลฯอ่านต่อ
วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2557
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)